เทคโนโลยีของพลาสมาและนิวเคลียร์ฟิวชัน
เทคโนโลยีของพลาสมาและนิวเคลียร์ฟิวชัน
Environmental Technologies
Accepted

ข้อมูลโครงงาน

ชื่อ (ภาษาไทย)
เทคโนโลยีของพลาสมาและนิวเคลียร์ฟิวชัน
ชื่อ (ภาษาอังกฤษ)
Plasma technology and nuclear fusion
หน่วยงานที่ร่วมมือ / แหล่งทุนที่ได้รับมาสนับสนุน
สถาบันเทคโนโลยีนิวเคลียร์แห่งชาติ (องค์การมหาชน)
สิ่งที่ต้องการได้รับการสนับสนุนจาก อ.ที่ปรึกษา/คณะ/สถาบัน
-
สิ่งที่ได้จากโครงงาน
ชิ้นงาน, บทความวิชาการ/งานวิจัย
บทคัดย่อภาษาไทย
เครื่องกำเนิดสถานะพลาสมาชนิดอาร์คโดยตรง 6 หัว การประยุกต์ใช้เทคโนโลยีของพลาสมา และความคืบหน้าของนิวเคลียร์ฟิวชันและโทคามัคประเทศไทย
คำสำคัญภาษาไทย
พลาสมา
นิวเคลียร์ฟิวชัน
พลังงานสะอาด
เทคโนโลยี
โทคามัค
บทคัดย่อภาษาอังกฤษ
Direct Arc Plasma Generator with Six Nozzles, Applications of Plasma Technology and Progress in Nuclear Fusion and Thailand Tokamak-1 (TT1) Development
คำสำคัญภาษาอังกฤษ
Plasma
Nuclear Fusion
Clean energy
Technology
Tokamak
วัตถุประสงค์ของโครงงาน
นำเสนอเทคโนโลยีของพลาสมาเย็นและการนำไปใช้ในอุตสาหกรรมต่างๆ, สร้างเครื่องกำเนิดสถานะพลาสมาภายใต้ความดันบรรยากาศแบบอาร์คโดยตรงจำนวน 6 ขั้วอิเล็กโทรดสำหรับการศึกษาพลาสมาขั้นต้น, การนำเสนอเทคโนโลยีพลาสมาสำหรับนิวเคลียร์ฟิวชันประเทศไทยของสถาบันเทคโนโลยีนิวเคลียร์แห่งชาติ (องค์การมหาชน)
ที่มาและความสำคัญ หรือ เหตุผลที่ทำโครงงานนี้
เทคโนโลยีพลาสมาเป็นนวัตกรรมที่สำคัญในอุตสาหกรรมการผลิต อิเล็กทรอนิกส์ และการแพทย์ โดยช่วยเพิ่มประสิทธิภาพและคุณภาพของผลิตภัณฑ์ อีกทั้งยังมีบทบาทสำคัญในพลังงานสะอาด เช่น โทคามัค ซึ่งใช้พลาสมาในการสร้างปฏิกิริยาฟิวชันเพื่อผลิตพลังงานจากไฮโดรเจนอย่างยั่งยืน โทคามัคมีศักยภาพในการลดการพึ่งพาเชื้อเพลิงฟอสซิลและแก้ไขปัญหาการเปลี่ยนแปลงสภาพภูมิอากาศ ทำให้เป็นกุญแจสำคัญสู่พลังงานแห่งอนาคต
ประโยชน์ที่คาดว่าจะได้รับจากการทำโครงงานนี้
-
Information
ประเภทโครงงาน
Environmental Technologies
Tags
ป. ตรี โครงงานพิเศษ
ชิ้นงาน
KMITL Expo 2025
Cluster 2025
ปีการศึกษา
2567
วันที่สร้าง
5 กุมภาพันธ์ 2568, 08:36
วันที่แก้ไขล่าสุด
11 กุมภาพันธ์ 2568, 03:55
สร้างโดย
ภัทรชัย บ่ออินทร์ (64050184@kmitl.ac.th)
รูปภาพที่เกี่ยวข้อง
สมาชิกโครงงาน
P
นายภัทรชัย บ่ออินทร์
เจ้าของโครงงาน
s
รศ.ดร.สาหร่าย เล็กชะอุ่ม
ที่ปรึกษาหลัก
K
รศ.ดร.กฤษกร โล้เจริญรัตน์
อาจารย์ที่ปรึกษาร่วม

หากพบปัญหาในการใช้งานสามารถติดต่อได้ที่ Line Official: @acadkmitl

2023 KMITL Innovation Project. | Version: 2.2.2